การฟังเพลงผ่านหูฟังเป็นสิ่งที่หลาย ๆ คนประวัติการ มันให้ความเป็นส่วนตัวร้ายความรู้สึกที่มากกว่าการฟังเพลงจากลำโพงเครื่องเสียง แต่การใช้หูฟัง ดังนั้นการเลือกหูฟังที่จะใช้ให้ดนตรีของคุณมีความสนใจมากขึ้นก็มีความจำเป็นที่จะต้องเลือกคุณสมบัติของหูฟังวิธี เพื่อให้การฟังดนตรีของคุณได้อรรถรสมากที่สุด
หูฟังถูกใช้เป็นสิ่งหนึ่งในชีวิตประจำวันที่ค่อนข้างสำคัญ เพราะสามารถทำให้ช่วยให้เวลาที่คุณต้องเสียไปกับการเดินทางหรือเวลาที่คุณต้องการความเป็นส่วนตัวดูมีคุณค่ามากขึ้น และในขณะเดียวกันหูฟังก็มีประโยชน์กับนักกีฬาด้วย โดยเฉพาะกีฬาวิ่งรายการช้อปปิ้งหูฟังจะเป็นปัจจัยหลักและตัวเลือกแรกที่นักกีฬาเหล่านี้จำเป็นจะต้องมี เรามีวิธีการเลือกหูฟังแบบเบื้องต้นพี่ไม่จำเป็นต้องใช้ทฤษฎีเก็บรายละเอียดมาเท่าไหร่นัก ถ้าเป็นข้อมูลพื้นฐานที่คุณควรจะต้องรู้ก่อนที่คุณจะเลือกซื้อหูฟังหรือมองเข้าไปถึงคุณสมบัติที่ลึกขึ้น มาดูกันว่าความรู้พื้นฐานเหล่านี้มีอะไรกันบ้าง
1. ประเภทของหูฟัง
หูฟังเป็นการเลือกการฟังเสียงที่ค่อนข้างให้การเอนเตอร์เทรนตัวเองได้อย่างเต็มรูปแบบ หูฟังในแต่ละประเภทถูกตกแต่งเรื่องการให้เสียงที่ทุ้มนุ่มนวลสามารถปรับแต่งได้ มีการคัดเสียงรบกวนจากภายนอก และหูฟังในปัจจุบันมีตัวเลือกให้คุณได้เลือกเข้ากับไลฟ์สไตล์ ความถนัดและความชอบ แบ่งได้ดังนี้
Earbuds หูฟังไร้สาย หรือ บลูทูธ มีการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์และเหมาะกับการใช้งานในยุคสังคมปัจจุบัน มีความทันสมัยมากขึ้น ใช้บริเวณแก้มเป็นการควบคุม วิธีการใช้งานแบบ Open Ear และ In-Ear แบบไร้สาย สัญญาณบลูทูธที่ต้องแรง อาจจะทำให้เกิดอาการเจ็บหูหรือปวดศรีษะได้บ่อย เหมาะกับผู้ที่ต้องการความสะดวกในการทำกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลาเช่น การเดินจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือการฟังเพลงในขณะที่คุณต้องนั่งทำงานไปด้วย
คุณสมบัติพิเศษของ Earbuds เหล่านี้ มักจะถูกสร้างมาเพื่อป้องกันเหงื่อได้ในระดับหนึ่ง และใช้แบตเตอรี่เป็นส่วนใหญ่ จึงจำเป็นจะต้องให้ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องพลังงานที่มากขึ้นกว่าเดิม คุณจะต้องชาร์จมันทุกครั้งหากคุณใช้งานมันทั้งวัน และในบางรุ่นอาจจะต้องมีการหยุดทำงานเพื่อชาร์จแบตเตอรี่
In-Ear หูฟังแบบสาย ตัวนี้ถูกใช้มาเป็นรุ่นแรก ๆ และจะเห็นภาพมาตลอดกับดีไซน์ของ In-Ear ที่ต้องมาคู่กับสาย แต่มีการปรับไปทำงานสะดวกแบบไร้สายในบางรุ่น แต่สำหรับ In-Ear แบบสาย จะเป็นที่นิยมของผู้ที่เล่นกีฬา เพราะสามารถช่วยล็อคให้อยู่กับหูของคุณได้อย่างสนิทในขณะที่พวกเขาจ๊อกกิ้ง แต่มีความวุ่นวายเพราะคุณจะต้องพกพาอุปกรณ์ต่อพ่วงไว้ด้วยตลอดเวลาเช่น มือถือ เป็นต้น
Full-Size หรือ Headphone มี 2 แบบ คือ แบบ On-Ear กับแบบ Over-Ear แต่มีการทำงานคือการปิดครอบหูคล้ายกัน โดยที่ On-Ear จะมีการปิดหูประมาณครึ่งหนึ่งแต่ป้องกันการเจ็บได้ดีในระดับหนึ่ง ส่วนการทำงาน Over-Ear เป็นการครอบไปทั้งใบหู ทำให้ได้ยินเสียงที่ชัดเจนและเป็นเหมือนโลกส่วนตัวได้มากขึ้น เหมาะสำหรับคนที่ต้องการสร้างพื้นที่ของตัวเอง และการใช้งานที่ต้องการเน้นเสียงที่ชัดเจนมากว่าปรกติ มันอาจจะเกะกะกับการพกพาสักหน่อย อาจจะเหมาะกับการทำงานที่อยู่กับที่ไม่เคลื่อนย้าย
2. ความถี่ของคลื่นเสียง
การเลือกความถี่เสียงของหูฟัง แนะนำให้ใช้คลื่นความถี่แบบกว้าง คลื่นถี่แบบกว้างคืออะไร? การให้ไดนามิกเสียงที่สามารถเก็บพื้นที่เสียงทั้งหมดในระดับการได้ยินมาตรฐานของมนุษย์เราโดยทั่วไปคือ 20 Hz – 20 kHz หากมีค่าความถี่ที่ต่ำเกินไปการได้ยินจะน้อยลง แต่หากสูงเกินกว่าระดับมาตรฐานมากเกินไปจะทำให้เกิดปัญหาในอนาคต
การเลือกการทำงานของเสียงของหูฟังแต่ละรุ่นให้คุณยึดตามระดับเสียงมาตรฐาน แต่ให้เลือกถึงการใช้เสียงเบสหรือเสียงทุ้มที่ไม่สร้างความรบกวน คุณสามารถทดลองหรือเลือกจากคุณสมบัติของหูฟังแต่ละรุ่น
3. Impedance
Impedance เป็นความต้านทานของกระแสไฟ แต่นำมาใช้ในการเลือกหูฟัง ความทนทานในการฟังจากหูฟังของคนทั่วไประดับมาตรฐานอยู่ที่ต่ำกว่า 20 โอม อาจจะเพียง 4-8 โอม กับชุดหูฟัง แต่ในระดับสเปกของหูฟังของ DJ ที่จะไม่ทำให้หูระเบิด นั่นคือ Impedance จะต่ำลงเล็กน้อยเพื่อควบคุมไม่ให้หูคุณระเบิด แต่มันขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่คุณต่อพ่วงด้วย
4. การปิดกั้นเสียงรบกวน
คุณอาจจะต้องมองหาและทดสอบหูฟัง ให้มีความถี่ที่กว้างและสามารถเก็บเพียงเสียงเพลงหรือสิ่งที่คุณกำลังฟังและสามารถตัดเสียงรบกวนจากภายนอกได้เป็นอย่างดี ไม่เว้นแม้กระทั่งการสนทนา โดยเฉพาะหูฟังที่มีคุณสมบัติการใช้พลังเสียงที่น้อยแต่ได้ยินครอบคลุมเพื่อลดการได้รับผลกระทบต่อระบบประสาทในใบหูของคุณ คุณอาจจะต้องทดลองมากกว่าการอ่านคุณสมบัติเบื้องต้น
คุณสามารถใช้วิธีการเลือกหูฟังจากวิธีพื้นฐานเหล่านี้เป็นความรู้ในการเลือก เมื่อคุณสามารถเลือกหูฟังได้ตามที่คุณต้องการ แต่คุณยังต้องมีความรับผิดชอบในการใช้งานมัน ด้วยการระมัดระวังที่จะไม่ใช้เสียงดังมากจนเกินไปในขณะที่คุณกำลังทำกิจกรรมที่สำคัญ เช่น การขับรถยนต์ หรือเดินตามท้องถนน เพราะเสียงเพลงหรือ Podcast ที่คุณกำลังฟังอย่างตั้งใจอาจจะทำให้คุณไม่ได้ยินเสียงเตือนรอบข้าง จะสามารถสร้างอันตรายได้ หรือการฟังแบบไม่พักใบหูของคุณก็จะสร้างความเจ็บใบหูและกระทบระบบการรับฟังเสียงของคุณได้ในอนาคต คุณควรจะใช้มันแต่พอดีและเหมาะสม howto101